บ้าบ๋า ย่าหยา เกิดขึ้นในช่วงรัชกาลที่ 1 ซึ่งสมัยนั้น มีการอพยพของชาวจีนมายังประเทศไทยเป็นจำนวนมาก อันสืบเนื่องจากประเทศจีนในช่วงนั้นมีความไม่สงบทางการเมือง และ ภาวะสงคราม จึงทำให้ชายหนุ่มและเด็กหนุ่มที่ยังไม่มีครอบครัวทำการอพยพย้ายถิ่นฐานเพื่อหนีสงคราม จนกระทั่งบางคนได้ตั้งรกรากและสร้างครอบครัวใหม่กับคนท้องถิ่นในประเทศไทย โดย พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 ได้ให้ความหมายของคำว่า "บ้าบ๋า" เป็นคำที่ใช้เรียกชายลูกครึ่งจีนกับมลายูที่เกิดในมลายูและอินโดนีเซีย และเรียกหญิงลูกครึ่งจีนกับมลายูที่เกิดในมลายูและอินโดนีเซีย ว่า "ย่าหยา"
ส่วนลูกครึ่งที่สืบเชื้อสายมาจากบรรพบุรุษชาวจีนกับคนท้องถิ่นจังหวัดพังงาและเกิดในอำเภอตะกั่วป่านั้นที่ จะเรียกรวมๆ ว่า บ้าบ๋า
ในอดีตการแต่งกายของ บ้าบ๋า ในอำเภอตะกั่วป่านั้น
ชุดเจ้าสาว
ชุดเจ้าสาวบาบ๋า จะสวมเสื้อ 2 ตัว คือ เสื้อคอตั้งแขนจีบ และ เสื้อครุยยาวที่ไม่กลัดกระดุม แต่จะประดับด้วย โกรส้าง, ปินตั๋ง, หลังแต่ป๋าย มีการเกล้ามวยทรงสูงเรียกว่า ชักอีโบย มีการสวมมงกุฏโดยเรียกกันว่า ฮั่วก๋วน ซึ่งจะประดับด้วยเฉ้งก้อผีเสื้อและหงส์ สวมแหวนบาเย็ะ ใส่ต่างหูตุ้งติ้งหรือหางหงส์ สวมกำไรข้อมือเข้าเท้า และรองเท้าลูกปัด
ชุดนายหัวหญิง
เป็นชุดสำหรับคหบดีภรรยานายเหมือง ใช้โกรสร้างกลัดติดแทนกระดุม เกล้ามวยทรงสูงซึ่งเรียกกันว่า ชักอีโบย ก่อนจะใส่มงกุฏไข่มุกหรือดอกมะลิรัดมวยผมปักปิ่นทอง
เครื่องประดับ
1.โกรส้าง
ใช้ประดับชุดเจ้าสาว ชุดนายหัวหญิง ชุดคอตั้งแขนจีน
2.โกรส้างหลันด๋าย
ใช้ประดับชุดปั๋วตึ๋งเต้
3.หลันเต่ป๋าย
4.ฮั่วหนา
5.กิ้มตู้น
6.กิ้มป้าย
7.ปิ่นตั๋ง
8.กั่วปี่จี
9.ต่างหูดอกพิกุล
10.ต่างหูหงส์ทอง
11.ต่างหูตุ้งติ้ง
12.แหวนบาเย๊ะ
13.แหวนดอกพิกุล
14.กระเป๋าเงิน
15.เมี่ยนป่อ
16.สร้อยข้อมือ กำไรข้อมือ
เครื่องนุ่ง
โดยการแต่งกายชุด "บาบ๋า ย่าหยา" ในปัจจุบัน เป็นการผสมผสานวัฒนธรรมของหลายชนชาติออกมาอย่างสวยงาม ซึ่งชาวพังงายังคงรักษาวัฒนธรรมการแต่งกายแบบ ชุดบาบ๋า และ ชุดย่าหยา ไว้โดยปรับเปลี่ยนรายละเอียดของชุดให้ทันกับยุคสมัยที่เปลี่ยนไป
ข้อมูลยังอยู่ในระหว่างการตรวจสอบและสืบค้นเพิ่มเติม
ส่วนลูกครึ่งที่สืบเชื้อสายมาจากบรรพบุรุษชาวจีนกับคนท้องถิ่นจังหวัดพังงาและเกิดในอำเภอตะกั่วป่านั้นที่ จะเรียกรวมๆ ว่า บ้าบ๋า
ในอดีตการแต่งกายของ บ้าบ๋า ในอำเภอตะกั่วป่านั้น
ชุดเจ้าสาว
ชุดเจ้าสาวบาบ๋า จะสวมเสื้อ 2 ตัว คือ เสื้อคอตั้งแขนจีบ และ เสื้อครุยยาวที่ไม่กลัดกระดุม แต่จะประดับด้วย โกรส้าง, ปินตั๋ง, หลังแต่ป๋าย มีการเกล้ามวยทรงสูงเรียกว่า ชักอีโบย มีการสวมมงกุฏโดยเรียกกันว่า ฮั่วก๋วน ซึ่งจะประดับด้วยเฉ้งก้อผีเสื้อและหงส์ สวมแหวนบาเย็ะ ใส่ต่างหูตุ้งติ้งหรือหางหงส์ สวมกำไรข้อมือเข้าเท้า และรองเท้าลูกปัด
ชุดนายหัวหญิง
เป็นชุดสำหรับคหบดีภรรยานายเหมือง ใช้โกรสร้างกลัดติดแทนกระดุม เกล้ามวยทรงสูงซึ่งเรียกกันว่า ชักอีโบย ก่อนจะใส่มงกุฏไข่มุกหรือดอกมะลิรัดมวยผมปักปิ่นทอง
เครื่องประดับ
1.โกรส้าง
ใช้ประดับชุดเจ้าสาว ชุดนายหัวหญิง ชุดคอตั้งแขนจีน
2.โกรส้างหลันด๋าย
ใช้ประดับชุดปั๋วตึ๋งเต้
3.หลันเต่ป๋าย
4.ฮั่วหนา
5.กิ้มตู้น
6.กิ้มป้าย
7.ปิ่นตั๋ง
8.กั่วปี่จี
9.ต่างหูดอกพิกุล
10.ต่างหูหงส์ทอง
11.ต่างหูตุ้งติ้ง
12.แหวนบาเย๊ะ
13.แหวนดอกพิกุล
14.กระเป๋าเงิน
15.เมี่ยนป่อ
16.สร้อยข้อมือ กำไรข้อมือ
เครื่องนุ่ง
ข้อมูลยังอยู่ในระหว่างการตรวจสอบและสืบค้นเพิ่มเติม
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น